ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 RMTS : บัญชีสูตรการผลิต (FRM)

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

      เมื่อผู้ได้รับส่งเสริมได้รับอนุมัติสูตรหรือได้รับอนุมัติให้แก้ไขสูตรการผลิตผลิตภัณฑ์จาก BOI แล้ว จะต้องนำข้อมูลที่ได้รับอนุมัติมาบันทึกในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (CD, USB Flash Drive ฯลฯ) ตามรูปแบบไฟล์ excel ที่กำหนด โดยใช้ชื่อไฟล์ว่า birtfrm.xml

      จากนั้น ผู้ได้รับส่งเสริมจะต้องนำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวไปยื่นต่อสมาคมสโมสรนักลงทุน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และบันทึกลงในระบบ RMTS เพื่อนำไปใช้ตัดบัญชีวัตถุดิบ เมื่อมีการส่งผลิตภัณฑ์ไปจำหน่ายในต่างประเทศต่อไป

      สูตรการผลิต แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ

  1. สูตรการผลิตผลิตภัณฑ์ตามบัตรส่งเสริม
  2. สูตรการผลิตผลิตภัณฑ์ที่นำกลับมาซ่อมแซมเพื่อส่งกลับออกไป


การบันทึกข้อมูลในไฟล์ Birtfrm.xls

สูตรการผลิต Model IC08F สำหรับผลิตภัณฑ์ SUB ASSY และ PCBA

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000011.00000000
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000020.05100000
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000031.00076500
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000041.00000000
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000050.00680000
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCB SUB ASSYC6211/03/20130000060.00000068
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCBAC6211/03/20130000020.05100000
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCBAC6211/03/20130000030.00076500
0908/00425317/04/2013A
12345611IC08FPCBAC6211/03/20130000060.00000068
0908/00425317/04/2013A


สูตรการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์ที่นำกลับมาซ่อมแซมเพื่อส่งกลับออกไป

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611RTV R00001PCB SUB ASSYC6205/04/2013R000011
0908/00552406/05/2013A

ความหมายและข้อกำหนดของแต่ละฟีลด์

No.ชื่อฟีลด์ประเภทข้อมูลความยาวคำอธิบายและเงื่อนไข
1Proj_codeตัวอักษร8รหัสโครงการ
ไม่เป็นค่าว่าง และทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน
2Modelตัวอักษร50ชื่อรุ่นผลิตภัณฑ์
ไม่เป็นค่าว่าง
ใช้ชื่อซ้ำได้ แต่เมื่อรวมกับ Model_desc แล้ว ต้องไม่ซ้ำกัน
3Model_descตัวอักษร254ชื่อผลิตภัณฑ์
ไม่เป็นค่าว่าง
ใช้ชื่อซ้ำกันได้ แต่เมื่อรวมกับ Model แล้ว ต้องไม่ซ้ำกัน
4UOPตัวอักษร3หน่วยของผลิตภัณฑ์ที่ส่งออก (Unit of Product)
ไม่เป็นค่าว่าง
ต้องเป็นหน่วยในฐานข้อมูลรหัสสถิติของกรมศุลกากร
5Start_dateตัวอักษร10วันที่ยื่นขออนุมัติสูตรต่อ BOI
ไม่เป็นค่าว่าง ในกรณีที่เพิ่มหรือแก้ไขสูตร
ถ้าเป็น Model เดียวกัน ต้องเหมือนกันทุกบรรทัด
6Grp_noตัวอักษร6ลำดับรายการวัตถุดิบตามบัญชี MML
ไม่เป็นค่าว่าง ในกรณีเพิ่มข้อมูล แก้ไข หรือลบสูตร
7Qty_perตัวเลข18 หลัก
8 ทศนิยม
ปริมาณการใช้วัตถุดิบในสูตรการผลิตต่อ 1 หน่วยส่งออก
ไม่เป็นค่าว่าง ในกรณีเพิ่มข้อมูล
ต้องเป็นค่าว่าง หาก Qty_1000 มากกว่า 0
8Qty_1000ตัวเลข18 หลัก
8 ทศนิยม
ปริมาณการใช้วัตถุดิบในสูตรการผลิตต่อ 1,000 หน่วยส่งออก
ไม่เป็นค่าว่าง ในกรณีเพิ่มข้อมูล
ต้องเป็นค่าว่าง หาก Qty_per มากกว่า 0
9App_noตัวอักษร10เลขที่หนังสือที่ได้รับอนุมัติจาก BOI
ไม่เป็นค่าว่าง
10App_dateตัวอักษร11วันที่ที่ได้รับอนุมัติจาก BOI
ไม่เป็นค่าว่าง
หากเป็นหนังสืออนุมัติเดียวกัน ต้องคีย์วันที่เหมือนกัน
11Typeตัวอักษร1ประเภทของการยื่นข้อมูล ซึ่งกำหนดรหัส ดังนี้
Aคือ การยื่นข้อมูลครั้งแรก หรือเพิ่มสูตรใหม่
Iคือ การเพิ่มรายการวัตถุดิบใหม่ในสูตรเดิม
Cคือ การแก้ไขข้อมูลที่บันทึกอยู่เดิม
Dคือ การลบข้อมูลที่บันทึกอยู่เดิม


ข้อควรรู้ในการบันทึก หรือแก้ไขสูตรการผลิต

  1. กรณียื่นบันทึกสูตรการผลิตครั้งแรกภายใน 6 เดือนนับจากวันลงทะเบียนใช้งานระบบ RMTS ระบบจะบันทึก Start_date เป็นวันลงทะเบียนใช้งานระบบ RMTS แต่หากเกินกว่า 6 เดือน ให้บันทึกเป็นวันที่ยื่นขออนุมัติสูตรต่อ BOI
  2. การเพิ่มสูตรการผลิต ให้บันทึกเป็น Type A ทุกบรรทัด
  3. การเพิ่มรายการวัตถุดิบใหม่ในสูตรการผลิตเดิม ให้บันทึกเป็น Type I
  4. Model และ Model_desc ไม่สามารถแก้ไขได้ ต้องลบและเพิ่มใหม่เท่านั้น
  5. การลบ Model จะเปลี่ยนสถานะเป็น Inactive และสูตรการผลิตทั้งหมดภายใต้ Model นั้น จะนำมาใช้ตัดบัญชีไม่ได้
  6. การแก้ไขหน่วยผลิตภัณฑ์ ไม่ต้องคีย์วัตถุดิบและปริมาณการใช้วัตถุดิบ
  7. การแก้ไขที่เกี่ยวกับวัตถุดิบ ไม่ต้องคีย์หน่วยของผลิตภัณฑ์ (UOP)
  8. การแก้ไขที่เกี่ยวกับวัตุดิบ จะถือเป็นการสร้างสูตรการผลิตเวอร์ชั่นใหม่
  9. กรณีแก้ไขสูตร หรือลบสูตรและบันทึกใหม่ วันเริ่มต้นใช้งานของสูตรที่แก้ไขใหม่ จะย้อนหลังไปไม่เกินวันเริ่มต้นใช้งานของสูตรการผลิตเวอร์ชั่นก่อนหน้านั้น
  10. กรณีมีข้อมูลมากกว่า 1 ไฟล์ ให้บันทึกชื่อไฟล์เป็น Birtdesc_1.xls, Birtdesc_2.xls ... ตามลำดับ

ตัวอย่างการบันทึกสูตรการผลิต

ตัวอย่างที่ 1 การเพิ่มสูตรการผลิตใหม่
เพิ่มโมเดล MTI145 ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ BUSHING และ BRASS BUSHING

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BUSHINGSET11/01/20130000011
0906/00110011/01/2013A
12345611MTI145BUSHINGSET11/01/20130000021
0906/00110011/01/2013A
12345611MTI145BRASS
BUSHING
SET11/01/20130000032
0906/00110011/01/2013A


ตัวอย่างที่ 2 การแก้ไขสูตรการผลิต
เพิ่มรายการวัตถุดิบ Grp_no 000006 และ 000007 ในผลิตภัณฑ์ BUSHING

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BUSHING
12/02/20130000061
0906/00220012/02/2013I
12345611MTI145BUSHING
12/02/20130000071
0906/00220012/02/2013I


ตัวอย่างที่ 3 การแก้ไขสูตรการผลิต
เพิ่มปริมาณการใช้วัตถุดิบ Grp_no 000006 จาก 1 เป็น 2

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BUSHING
12/02/20130000062
0906/00220012/02/2013C


ตัวอย่างที่ 4 การแก้ไขสูตรการผลิต
ยกเลิกการใช้วัตถุดิบ Grp_no 000007

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BUSHING
14/04/2013000007

0906/00440014/04/2013D


ตัวอย่างที่ 5 การแก้ไขหน่วยผลิตภัณฑ์
จาก SET เป็น C62

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BUSHINGC6215/05/2013


0906/00550015/05/2013C


ตัวอย่างที่ 6 การลบผลิตภัณฑ์
ลบผลิตภัณฑ์ BRASS BUSHING ในโมเดล MTI145

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145BRASS
BUSHING

16/06/2013


0906/00660016/06/2013D


ตัวอย่างที่ 7 การลบ Model
ลบโมเดล MTI145 ซึ่งจะทำให้สูตรการผลิตทั้งหมดภายใต้โมเดล MTI145 ถูกลบไปด้วย

Proj_
code
ModelModel_
desc
UOPStart_
date
Grp_noQty_perQty_1000App_noApp_dateType
12345611MTI145

16/06/2013


0906/00770017/07/2013D

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 16,327
Total pageviews 4,415,034 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.