ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 การแก้ไขโครงการ : ทุนจดทะเบียน

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การแก้ไขเงื่อนไขทุนจดทะเบียน

      โครงการที่ได้รับส่งเสริมลงทุน จะต้องมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียน (หรือส่วนของผู้ถือหุ้น) ในเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้มีภาระจากเงินกู้หรือสินเชื่อมากจนเกินไป

      คณะกรรมการได้กำหนดเงื่อนไขอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียนไว้ดังนี้

  1. กรณีเป็นโครงการริเริ่ม
    จะต้องมีอัตราส่วนหนี้สิน : ทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระ ไม่เกิน 3 : 1

  2. กรณีเป็นโครงการขยายกิจการ
    จะต้องมีอัตราส่วนหนี้สิน : ส่วนผู้ถือหุ้น (รวมโครงการขยาย) ในเกณฑ์ที่เหมาะสม โดยมีแนวทางพิจารณาเบื้องต้น ดังนี้
    2.1กรณีที่กิจการเดิมมีกำไรสะสม
    จะต้องมีอัตราส่วนหนี้สิน : ส่วนผู้ถือหุ้น (รวมโครงการขยาย) ไม่เกิน 3 : 1 หรืออาจเกินกว่านี้ก็ได้ตามความเหมาะสม
    2.2กรณีที่กิจการเดิมขาดทุนสะสม
    จะต้องมีอัตราส่วนหนี้สิน (เฉพาะโครงการส่วนขยาย) : ทุนจดทะเบียนที่จะเรียกชำระเพิ่มขึ้น ไม่เกิน 3 : 1

      ในบัตรส่งเสริมได้กำหนดเงื่อนไขทุนจดทะเบียนไว้ 2 ขั้นตอน ดังนี้

  1. ทุนจดทะเบียนในขั้นออกบัตรส่งเสริม
    โดยในขั้นออกบัตรส่งเสริม อาจเรียกชำระขั้นต่ำเพียง 25% ของทุนที่จดทะเบียนไว้ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงพาณิชย์ก่อนก็ได้

  2. ทุนจดทะเบียนที่ต้องเรียกชำระในขั้นเปิดดำเนินการเต็มโครงการ
    โดยในขั้นเปิดดำเนินการ จะต้องเรียกชำระให้ครบตามเงื่อนไขที่กำหนด
    ตัวอย่าง : จะต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาทก่อนออกบัตรส่งเสริม และจะต้องเรียกชำระไม่น้อยกว่า 5 ล้านบาทก่อนเปิดดำเนินการ

      ในกรณีที่มีปัญหาในการเรียกชำระทุนจดทะเบียน ผู้ได้รับส่งเสริมสามารถขอแก้ไขเงื่อนไขทุนจดทะเบียนได้ ตามแนวทางดังนี้

  1. การผ่อนผันเงื่อนไขทุนจดทะเบียนในขั้นออกบัตรส่งเสริม
          โครงการที่มีขนาดการลงทุนสูง แต่มีความจำเป็นต้องออกบัตรส่งเสริมก่อนที่จะเพิ่มทุนจดทะเบียนให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด อาจผ่อนผันให้มีทุนจดทะเบียนขั้นต่ำ 1 ล้านบาทหรือมากกว่า เพื่อให้สามารถออกบัตรส่งเสริมให้ก่อนก็ได้

  2. การขอลดทุนจดทะเบียน
          กรณีที่กำหนดเงื่อนไขทุนจดทะเบียนสูงเกินความจำเป็นที่ต้องใช้ในโครงการ จะอนุญาตให้แก้ไขโครงการเพื่อลดทุนจดทะเบียนหรือลดทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระได้ แต่ทั้งนี้ จะต้องไม่ทำให้อัตราส่วนหนี้สิน : ส่วนผู้ถือหุ้น ต่ำกว่าหลักเกณฑ์ข้างต้นที่คณะกรรมการกำหนด
          อนึ่ง กรณีลดทุนจดทะเบียนเพื่อแก้ไขปัญหาขาดทุนสะสม หรือลดทุนจดทะเบียนเพื่อชำระคืนให้แก่ผู้ถือหุ้น จะพิจารณาตามความเหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 18,287
Total pageviews 4,488,979 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.