ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 ช่างฝีมือ : การอนุมัติตำแหน่ง

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การอนุมัติตำแหน่งช่างฝีมือต่างด้าว

หลักการ

      การพิจารณาอนุมัติตำแหน่งของคนต่างด้าว จะพิจารณาจากภาพรวมของโครงการที่ได้รับการส่งเสริม เช่น ประเภทกิจการ ขนาดกิจการ กรรมวิธีการผลิต ระดับเทคโนโลยี เวลาทำงาน และมูลค่าส่งออก เป็นต้น

      ระยะเวลาการอนุมัติตำแหน่งในครั้งแรก จะอนุมัติให้เป็นเวลา 2 ปี ยกเว้น กิจการซอฟต์แวร์ และกิจการสนับสนุนการค้าและการลงทุน (TISO) จะอนุมัติให้เป็นเวลา 1 ปี โดยจะกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดให้พร้อมกันทั้งบริษัท


เงื่อนไขการพิจารณาอนุมัติแต่ละตำแหน่ง

  1. ตำแหน่ง PRESIDENT, CHAIRMAN, CEO หรือผู้บริหารระดับสูงด้าน FINANCE, ADMINISTRATIVE, GENERAL AFFAIR จะพิจารณาอนุมัติให้ในกรณีที่มีหุ้นต่างด้าวเกินกว่า 50% ของทุนจดทะเบียน หรือมีทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 50 ล้านบาท
  2. ตำแหน่ง ASSISTANT ของผู้บริหารระดับสูงและด้านโรงงาน อาจพิจารณาอนุมัติให้ในกรณีที่มีหุ้นต่างชาติเกินกว่า 50% ของทุนจดทะเบียน และมีเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 100 ล้านบาท และลักษณะงานมีความจำเป็น เช่น มีผลิตภัณฑ์หลายชนิด หรือมีที่ตั้งโรงงานหลายแห่ง เป็นต้น
  3. กรณีที่ได้รับอนุมัติตำแหน่ง MANAGING DIRECTOR ไปแล้ว อาจไม่อนุมัติตำแหน่ง GENERAL MANAGER ให้อีก เว้นแต่กรณีที่มีหุ้นต่างชาติมากกว่า 50% ของทุนจดทะเบียน และมีเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 100 ล้านบาท
  4. ตำแหน่ง DIRECTOR จะต้องระบุว่าเป็น DIRECTOR ในด้านใดด้วย เช่น MARKETING DIRECTOR, FINANCIAL DIRECTOR เป็นต้น
  5. ตำแหน่งด้าน MARKETING, EXPORT หรือ SALES จะพิจารณาให้ได้เพียง 1 ตำแหน่ง กรณีที่เป็นกิจการผลิตเพื่อการส่งออก และหากบริษัทมีตลาดส่งออกแบ่งตาม ZONE เช่น EUROPE, ASIA PACIFIC, AMERICA อาจพิจารณาให้มากกว่า 1 ตำแหน่งก็ได้
  6. ตำแหน่งด้านตรวจสอบคุณภาพและควบคุมคุณภาพในสายการผลิต อาจอนุมัติให้ 1 ตำแหน่ง แต่หากบริษัทมีผลิตภัณฑ์หลายชนิด และหลายสายการผลิต อาจพิจารณาอนุมัติให้ตามความจำเป็นเป็นกรณีไป
  7. กิจการในหมวด 7 และกิจการซอฟต์แวร์ จะพิจารณาอนุมัติตำแหน่งตามขอบข่ายธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริม และตามความจำเป็นของกิจการเป็นกรณี ๆ ไป

ระยะเวลาที่อนุมัติให้ช่างฝีมือต่างด้าวปฏิบัติงาน

การพิจารณาระยะเวลาปฏิบัติงานของช่างฝีมือต่างด้าว กำหนดแนวทางไว้ดังนี้

  1. การอนุมัติตำแหน่งครั้งแรก
    • จะอนุมัติให้เป็นเวลา 2 ปี โดยจะกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดให้พร้อมกันทั้งบริษัท
      ยกเว้นกิจการบางประเภทจะอนุมัติให้เป็นเวลาดังนี้
      -กิจการสำนักงานใหญ่ข้ามประเทศ (International Headquarter: IHQ)4 ปี
      -กิจการบริษัทการค้าระหว่างประเทศ (International Trading Center: ITC)4 ปี
      - กิจการวิจัยและพัฒนา (เฉพาะตำแหน่ง Reasearcher)4 ปี
      -กิจการ Call Center1 ปี
      -กิจการ IBPO1 ปี
      -กิจการสนับสนุนการค้าและการลงทุน (Trade and Investment Support Office: TISO)1 ปี
  2. การขยายเวลาอนุมัติตำแหน่ง
    • กรณีเป็นบริษัทที่มีหุ้นต่างชาติ จะขยายระยะเวลาการอยู่ในประเทศแก่ผู้บริหารเพื่อดูแลกิจการ
    • จะอนุมัติให้ขยายได้คราวละเท่ากับระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติอยู่เดิมของแต่ละประเภทกิจการ

การขออนุมัติตำแหน่งของคนต่างด้าวเพิ่มเติม

มีแนวทางพิจารณาดังนี้

  1. มีที่ตั้งโรงงานแยกอยู่หลายแห่ง หรือมีที่ตั้งโรงงานอยู่แห่งเดียวกัน แต่มีหลายโครงการ
  2. การผลิตมีหลายกะ (SHIFTS)
  3. มีการขยายกำลังการผลิต หรือติดตั้งเครื่องจักรใหม่
  4. มีการขยายตลาดส่งออก หรือมีมูลค่าส่งออกเพิ่มมากขึ้น
  5. มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงขบวนการผลิต หรือใช้วัตถุดิบใหม่ หรือปรับเปลี่ยนการบริหารงานใน องค์กร
  6. มีการปรับปรุงประสิทธิภาพหรือมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์เพื่อ การส่งออก หรือต้องการรักษาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
  7. มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างประเทศ
  8. ประสบปัญหาต่างๆ เช่น ด้านการผลิต ด้านการดำเนินงาน เป็นต้น

ตัวอย่างตำแหน่งที่อยู่ในข่ายที่จะขออนุมัติได้

  1. ผู้บริหารระดับสูง เช่น
    • President
    • Managing Director
    • General Manager
    • Director ในสายงานต่างๆ (ระบุ)

  2. ผู้บริหารระดับกลาง เช่น
    • Factory Manager
    • Production Manager
    • Quality Control Manager
    • Chief Financial Officer

  3. ช่างฝีมือ และผู้ชำนาญการ เช่น
    • Production Engineer
    • Production Technician
    • อื่นๆ

ตัวอย่างเหตุผลในการขออนุมัติตำแหน่ง

  • เริ่มดำเนินกิจการ
  • ที่ตั้งโรงงานอยู่หลายจังหวัด
  • มีหลายโรงงานอยู่ที่เดียวกัน
  • การผลิตมีหลายกะ (Shifts)
  • ปรับปรุงเทคนิคการผลิต
  • ปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้
  • ใช้วัตถุดิบใหม่
  • มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงกระบวนการผลิต
  • ติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์
  • เพิ่มการลงทุนเพื่อขยายกิจการ
  • นำเข้าเครื่องจักรใหม่
  • ขยายกำลังผลิต
  • มีปัญหาด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์
  • ควบคุมดูแลด้านคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ลูกค้ากำหนด
  • ปรับปรุงประสิทธิภาพหรือมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก
  • มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างประเทศ
  • เชื่อมโยงระบบเครือข่ายการบริหารจัดการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกับบริษัทแม่
  • นำเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้เพื่อพัฒนาการผลิต
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้สามารถแข่งขันได้
  • บำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะ
  • เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นสำหรับกลุ่มบริษัทโดยเฉพาะ
  • เป็นการลงทุนของคนต่างด้าวเป็นส่วนใหญ่หรือทั้งหมด
  • ได้รับมอบหมายจากบริษัทแม่ในต่างประเทศให้เข้ามาบริหารจัดการ
  • ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารกิจการเพื่อพัฒนาธุรกิจ
  • วางนโยบายและกำหนดทิศทางการลงทุน
  • ควบคุมการบริหารงานภายในบริษัท
  • วางระบบการดำเนินกิจการ
  • บริหารการเงินการลงทุน
  • ปรับเปลี่ยนการบริหารงานในองค์กร
  • เหตุผลอื่นที่จำเป็นพื่อให้สามารถดำเนินการตามโครงการ/ขอบข่ายธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริม

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 33,811
Total pageviews 4,454,376 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.