ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
เครื่องจักร : การสั่งปล่อย

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

ปรับปรุงล่าสุด : 5 มกราคม 2566

      การสั่งปล่อยเครื่องจักร มี 3 กรณี คือ

  1. การสั่งปล่อยปกติ
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริมนำเครื่องจักรเข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้า พร้อมกับใช้หนังสืออนุมัตินั้นเป็นหนังสือค้ำประกันและถอนประกันภาษีมูลค่าเพิ่มของเครื่องจักร ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 20) ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2534 จึงทำให้บริษัทไม่ต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มของเครื่องจักรรายการนั้น

  2. การสั่งปล่อยถอนการใช้ธนาคารค้ำประกัน
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริม ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้าเครื่องจักรที่เคยใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากรไว้ พร้อมกับถอนการใช้ธนาคารค้ำประกัน และใช้หนังสืออนุมัตินั้นเป็นหนังสือค้ำประกันและถอนประกันภาษีมูลค่าเพิ่มของเครื่องจักรรายการ จึงทำให้บริษัทไม่ต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มของเครื่องจักรรายการนั้น

  3. การสั่งปล่อยคืนอากร
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริมได้รับคืนเฉพาะอากรขาเข้าเครื่องจักรที่ได้ชำระไปก่อนหน้านั้นแล้ว ส่วนภาษีมูลค่าเพิ่มจะไม่ได้รับคืนโดยตรงจากการสั่งปล่อยคืนอากร เนื่องจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่บริษัทชำระไปตั้งแต่วันที่นำเข้านั้น ได้เครดิตคืนในระบบ VAT ซื้อ VAT ขาย ไปแล้ว

เครื่องจักรที่อยู่ในข่ายสั่งปล่อยปกติ สั่งปล่อยถอนค้ำประกัน หรือสั่งปล่อยคืนอากร

  1. เป็นรายการเครื่องจักรที่มีชื่อตรงกับบัญชีเครื่องจักรทั่วไป (ชื่อรอง) หรือบัญชีอะไหล่ หรือบัญชีแม่พิมพ์ ที่ได้รับอนุมัติแล้ว
  2. จำนวนเครื่องจักรที่ขอสั่งปล่อย เมื่อรวมกับที่เคยสั่งปล่อยไปแล้ว ต้องไม่เกินกว่าจำนวนที่อนุมัติให้นำเข้าได้
  3. เป็นเครื่องจักรที่นำเข้ามาในระยะเวลาที่ได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากร ตามมาตรา 28 หรือ 29
  4. กรณีเป็นการสั่งปล่อยคืนอากร
    • จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับจากวันสิ้นสุดระยะเวลานำเข้าเครื่องจักร
  5. กรณีเป็นการสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน
    • เป็นรายการเครื่องจักรที่ได้รับอนุมัติให้ใช้ธนาคารค้ำประกันอยู่ก่อนหน้านั้น
    • ระยะเวลาการค้ำประกันที่อนุมัติไว้ยังไม่สิ้นสุดลง
    • สามารถขอสั่งปล่อยถอนค้ำประกันเครื่องจักรที่ค้ำประกันไว้ได้เพียงรายการละครั้งเดียว ดังนั้น หากรายการใดมีการขออนุมัติสั่งปล่อยไม่ครบตามจำนวนที่อนุมัติให้ค้ำประกันไว้ จะถูกเรียกเก็บภาษีอากรในส่วนที่เหลือของรายการนั้นๆ

ระยะเวลาในการพิจารณา
  • การสั่งปล่อยปกติ การสั่งปล่อยคืนอากร การสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน
    1 ชั่วโมง

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 19,774
Total pageviews 4,489,071 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.