ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 ภาษีเงินได้นิติบุคคล : วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

      การใช้สิทธิประโยชน์ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรกจากการประกอบกิจการตามโครงการที่ได้รับส่งเสริม ซึ่งต้องไม่ก่อนวันที่ได้รับอนุม้ติให้การส่งเสริม

      BOI และกรมสรรพากรได้ทำความตกลงร่วมกันวางแนวทางการรับรู้รายได้ ตามหลักเกณฑ์สิทธิตามมาตรา 65 แห่งประมวลกฎหมายรัษฎากร แล้วแต่วันใดจะเกิดขึ้นก่อน เป็นวันเริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับส่งเสริม ซึ่งผู้ได้รับส่งเสริมจะต้องเริ่มใช้สิทธิการยกเว้นภาษีเงินได้ตั้งแต่วันที่เริ่มมีรายได้นั้น

      นอกจากนี้ BOI ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติตามหนังสือ ที่ นร.1301/2523 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2534 กำหนดว่า วันเริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับส่งเสริม ไม่ถือเป็นวันเดียวกับวันที่ผู้ได้รับส่งเสริมได้รับอนุมัติให้เปิดดำเนินการบางส่วนหรือเปิดดำเนินการเต็มโครงการ เนื่องจากวันที่เปิดดำเนินการนั้น เป็นวันที่ BOI ได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่า ผู้ได้รับส่งเสริมปฏิบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในบัตรส่งเสริมเท่านั้น

      นอกจากนี้ BOI และกรมสรรพากรได้มีแนวทางวินิจฉัยเกี่ยวกับวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการ ดังนี้

  1. การจำหน่ายสินค้าตัวอย่าง หรือสินค้าจากการทดลองการผลิตตามโครงการที่ได้รับการส่งเสริม ถือเป็นวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับส่งเสริม
  2. การจำหน่ายสินค้าตามโครงการที่ได้รับส่งเสริม ไม่ว่าจะได้รับชำระราคาแล้วหรือไม่ก็ตาม ถือเป็นวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับส่งเสริม
  3. การส่งออกสินค้าตามโครงการที่ได้รับส่งเสริมไปจำหน่ายต่างประเทศ ไม่ว่าจะได้รับเงินหรือได้รับชำระราคาแล้วหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าวันส่งออกเป็นวันที่ขายสินค้า และถือเป็นวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม
  4. กรณีที่มีวันที่ซึ่งอาจถือเป็นวันเริ่มมีรายได้หลายวัน เช่น วันทำสัญญาซื้อขาย วันยื่นเรื่องผ่านพิธีการที่กรมศุลกากร วันที่ส่งของออกจากโรงงาน วันที่ในเอกสาร B/L หรือวันที่ได้รับเงินจากการส่งออก ให้ถือว่าวันรับรู้รายได้ของผู้ได้รับส่งเสริมจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ขายโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ที่มีนัยสำคัญในการเป็นเจ้าของสินค้านั้น ให้แก่ผู้ซื้อหรือได้ส่งมอบสินค้าแล้ว

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 22,830
Total pageviews 4,415,064 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.