ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 ช่างฝีมือ : การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การขอใบอนุญาตทำงานและขยายระยะเวลาอยู่ในราชอาณาจักร

    คนต่างด้าวที่ประสงค์จะทำงานภายใต้สิทธิประโยชน์ของ BOI จะต้องเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa) สำหรับการติดต่อหรือประกอบธุรกิจ และการทำงาน (รหัส B) หรือสำหรับการลงทุนหรือการอื่นภายใต้ข้อบังคับกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน (รหัส IB)
    โดยคนต่างด้าวจะต้องให้นายจ้าง/สถานประกอบการ ยื่นขออนุญาตจาก BOI เพื่อให้ช่างฝีมือต่างด้าวดังกล่าวเข้ามาเพื่อปฏิบัติงาน และเมื่อได้รับอนุมัติแล้ว จึงยื่นคำร้องต่อสำนักบริหารแรงงานต่างด้าวเพื่อการขอรับใบอนุญาตทำงาน และยื่นคำร้องต่อสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อขออนุญาตขยายเวลาการอยู่ต่อในราชอาณาจักร ดังนี้


การขอใบอนุญาตทำงาน
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กระทรวงแรงงาน

การยื่นขอใบอนุญาตทำงานและขยายระยะเวลาใบอนุญาตทำงาน (ต่อ 1 อัตรา)

  1. ยื่นแบบฟอร์ม
        รายละเอียดประกอบหนังสือแจ้งการอนุญาต ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551



  2. เอกสารประกอบ
    2.1กรณีขอใบอนุญาตทำงาน
    (1)หนังสือที่ได้แสดงว่าได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานตามกฎหมาย เช่น
     - หนังสือจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
    (2)สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (ไม่เกิน 6 เดือน)
    (3)รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 3 x 4 ซม. (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) จำนวน 3 รูป แต่งกายสุภาพ
    (4)หนังสือเดินทางฉบับจริงพร้อมสำเนา 1 ชุด ที่ได้รับการตรวจลงตราตามที่กฎหมายอื่นๆ กำหนด หรือใช้สำเนาเอกสารตามแบบฟอร์มข้อ 1.3
     - หนังสือเดินทาง/เอกสารแทนหนังสือเดินทาง
     - ใบสำคัญประจาตัวคนต่างด้าว
     - ใบสำคัญถิ่นที่อยู่
    2.2กรณียื่นขอขยายระยะเวลาใบอนุญาตทำงาน
    (1)หนังสือที่ได้แสดงว่าได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานตามกฎหมาย เช่น
     - หนังสือจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
    (2)สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (ไม่เกิน 6 เดือน)
    (3)สำเนาเอกสาร ตามแบบฟอร์มข้อ 1.3
    -หนังสือเดินทาง/เอกสารแทนหนังสือเดินทาง ที่ได้รับการตรวจลงตราตามที่กฎหมายอื่นๆ กำหนด หรือใช้สำเนาเอกสารตามแบบฟอร์มข้อ 1.3
    -ใบสำคัญประจาตัวคนต่างด้าว
    -ใบสำคัญถิ่นที่อยู่
    (4)ใบอนุญาตทำงานฉบับจริง
    (5)หนังสือมอบอำนาจจากต่างด้าวพร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท (ถ้ามี) แนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอำนาจและรับรองสำเนาถูกต้อง (ในกรณีต่างด้าวไม่ได้ยื่นคำขอด้วยตนเอง)
  3. อัตราค่าธรรมเนียม
    3.1การยื่นคำขอ ฉบับละ 100 บาท
    3.2กรณีขอใบอนุญาตทำงาน
    (ก)ใบอนุญาตที่มีอายุไม่เกินสามเดือน ฉบับละ 750 บาท
    (ข)ใบอนุญาตที่มีอายุเกินสามเดือนแต่ไม่เกินหกเดือน ฉบับละ 1,500 บาท
    (ค) ใบอนุญาตที่มีอายุเกินหกเดือนแต่ไม่เกินหนึ่งปี ฉบับละ 3,000 บาท กรณีได้รับอนุญาตจาก BOI ใบอนุญาตที่มีอายุเกินสองปี เพิ่มจาก (ค) อีกฉบับละ 3,000 บาท รวมเป็น 6,000 บาท
    3.3กรณีการต่ออายุใบอนุญาตหรือการขยายระยะเวลาการทำงาน (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

การขออนุญาตเพื่ออยู่ต่อไปในราชอาณาจักรของช่างฝีมือต่างด้าวและครอบครัว
สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

  1. แบบฟอร์มการยื่นขออนุญาตเพื่ออยู่ในราชอาณาจักร ดังนี้
    1.1คำขออนุญาตเพื่ออยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวต่อไป (แบบ ตม.7)
    1.2คำขอเพื่อกลับเข้ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry) (แบบ ตม.8)
    1.3ใบรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักร (สตม.2)
  2. เอกสาร หลักฐานประกอบคำร้อง
    2.1รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 2 รูป
    2.2หนังสือที่ได้แสดงว่าได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานตามกฎหมาย เช่น
     - หนังสือหนังสือจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
    2.3สำเนาหนังสือเดินทาง พร้อมหนังสือเดินทางฉบับจริง
     -ใช้หน้าที่มีรูปถ่าย
     - หน้าวีซ่า Non ครั้งแรก
     - การเดินทางครั้งแรกของ Non
     - หน้าวีซ่า ที่ได้รับการอนุญาตครั้งสุดท้าย
     - หน้า Re-Entry สุดท้าย
     - หน้าการเดินทางเข้าประเทศครั้งสุดท้าย
     - บัตร ตม.6
  3. อัตราค่าธรรมเนียม
    3.1แบบฟอร์ม ตม.7 ( ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท)
    3.2แบบฟอร์ม ตม.8 ( ค่าธรรมเนียม S= 1,000 บาท, M=3,800 บาท )

หมายเหตุ : สำหรับคนต่างด้าวที่ประสงค์จะทำการขออนุญาตให้ครอบครัวเข้ามาในประเทศ ภายใต้สิทธิประโยชน์ ด้านการลงทุนตามกฎหมายที่กำหนดในประเทศไทย จะต้องได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa) การเข้ามาในฐานะเป็นบุคคลในครัวเรือนหรือในความอุปการะ (รหัส O)

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 53,461
Total pageviews 4,488,964 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.