ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 ช่างฝีมือ : การนำครอบครัวช่างฝีมือต่างด้าวเข้ามาในประเทศ

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

      ครอบครัวของช่างฝีมือต่างด้าวจะได้รับอนุมัติให้เดินทางเข้ามาพำนักในราชอาณาจักร โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้

  1. ช่างฝีมือที่เป็นหัวหน้าครอบครัว จะต้องได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรตามมาตรา 25 และ 26 แล้ว
  2. ต้องเป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัว เช่น คู่สมรส บิดามารดาที่อยู่ในอุปการะ บุตรหรือบุตรบุญธรรมที่อยู่ในอุปการะ เป็นต้น
  3. กรณีเป็นบุตร จะต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี
  4. ต้องมีเอกสารที่แสดงถึงความเกี่ยวพันของครอบครัว เช่น สำเนาทะเบียนสมรส สำเนาทะเบียนบ้าน หรือสูติบัตร เป็นต้น
  5. ครอบครัวของช่างฝีมือจะได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นเวลาเท่ากับหัวหน้าครอบครัว

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ



 ช่างฝีมือ : อื่น ๆ

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การแจ้งพ้นจากตำแหน่งของช่างฝีมือต่างด้าว

-ต้องแจ้งการพ้นจากตำแหน่งของช่างฝีมือต่างด้าวให้ BOI ทราบภายในเวลา 15 วัน นับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
-สามารถแจ้งการพ้นจากตำแหน่งล่วงหน้า เพื่อจะขอนำช่างฝีมือคนใหม่เข้ามาปฏิบัติงานแทนก็ได้

การอนุญาตให้ช่างฝีมือต่างด้าวคนใหม่ มาปฏิบัติงานแทนบุคคลเดิม

-ต้องแจ้งการพ้นจากตำแหน่งของช่างฝีมือคนเดิม แล้วจึงยื่นเรื่องขออนุมัตินำบุคคลใหม่เข้ามาปฏิบัติงานแทน
-ต้องยื่นขอบรรจุช่างฝีมือต่างด้าวคนใหม่เช่นเดียวกับกรณีปกติ

การให้ช่างฝีมือต่างด้าวไปปฏิบัติงานเพิ่มเติมที่บริษัทในเครือเดียวกัน

      "บริษัทในเครือเดียวกัน" หมายความว่า บริษัทตั้งแต่ 2 บริษัทขึ้นไป ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังนี้

1)ในแต่ละนิติบุคคล มีผู้ถือหุ้นเหมือนกันเกินกว่า 50% ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด หรือ
2)ผู้ถือหุ้นถือหุ้นมีมูลค่าหุ้นเกินกว่า 50% ของทุนทั้งหมดในแต่ละนิติบุคคล หรือ
3)นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นในอีกนิติบุคคลหนึ่งเกินกว่า 50% ของทุนทั้งหมด หรือ
4)บุคคลเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจจัดการในนิติบุคคลหนึ่ง เป็นกรรมการหรือเป็นผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจจัดการในอีกนิติบุคคลหนึ่ง
      นอกเหนือจากนี้ จะพิจารณาในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทว่ามีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร หรือเป็นบริษัทที่ได้รับการส่งเสริม จะพิจารณาอนุญาตให้ได้


การให้ช่างฝีมือต่างด้าวเพิ่มหรือย้ายท้องที่ทำงาน

-ท้องที่ทำงานที่เพิ่มหรือย้าย จะต้องเป็นที่ตั้งโรงงานตามที่ระบุในบัตรส่งเสริม หรือที่ตั้งสำนักงานตามที่ระบุในหนังสือรับรองจดทะเบียนบริษัท

การแจ้งเปลี่ยนสัญชาติของคนต่างด้าว

-จะพิจารณาตามเอกสารที่แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงสัญชาติจริง เช่น หนังสือเดินทางที่แสดงสัญชาติใหม่ เป็นต้น

การนำของใช้ส่วนตัวของช่างฝีมือต่างด้าวและครอบครัวเข้ามาในราชอาณาจักร

-ช่างฝีมือต่างด้าวและครอบครัวดังกล่าว จะต้องได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรแล้ว โดยมีระยะเวลาที่อนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 1 ปี

การให้ช่างฝีมือต่างด้าวหรือครอบครัว อยู่ในราชอาณาจักรตามสิทธิเดิม

-การอนุมัติให้คนต่างด้าวอยู่ปฏิบัติงานในราชอาณาจักร จะยังมีผลใช้บังคับอยู่ โดยช่างฝีมือต่างด้าวจะต้องมีวีซ่า NON-IMMIGRANT ในการกลับเข้ามาในราชอาณาจักร

การขอความร่วมมือในการประทับตราวีซ่าหรือเปลี่ยนประเภทวีซ่า ให้แก่ช่างฝีมือต่างด้าวหรือครอบครัว

-ช่างฝีมือต่างด้าวในระดับทั่วไป จะต้องมีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทำงานที่ตรงกับตำแหน่งหน้าที่ที่จะมาปฏิบัติไม่น้อยกว่า 2 ปี และมีอายุไม่ต่ำกว่า 22 ปีนับถึงวันที่ยื่นบรรจุตัว
-ช่างฝีมือต่างด้าวในระดับผู้จัดการ จะต้องมีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทำงานที่ตรงกับตำแหน่งหน้าที่ที่จะมาปฏิบัติไม่น้อยกว่า 5 ปี และมีอายุไม่ต่ำกว่า 27 ปีนับถึงวันที่ยื่นบรรจุตัว
-ในบางกรณี อาจพิจารณาอนุญาตช่างฝีมือต่างด้าวให้ได้ตามลักษณะงานและความจำเป็นของโครงการนั้นๆ
-กรณีที่เป็นครอบครัว ช่างฝีมือต่างด้าวผู้เป็นหัวหน้าครอบครัว ต้องได้รับอนุญาตให้อยู่ในประเทศตามมาตรา 25 และ 26 แล้ว
-กรณีเป็นบุตรของช่างฝีมือต่างด้าว จะต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 17,715
Total pageviews 4,454,432 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.