ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 วัตถุดิบ มาตรา 36 : การสั่งปล่อยวัตถุดิบ

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

การสั่งปล่อยวัตถุดิบตามมาตรา 36

      การสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น ตามมาตรา 36 มี 3 กรณี คือ

  1. การสั่งปล่อยปกติ
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริมนำวัตถุดิบหรือวัสดุจำเป็นเข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับยกเว้นอากรขาเข้า
          กรณีที่ของที่นำเข้ามาเป็นวัตถุดิบ จะใช้หนังสืออนุมัติสั่งปล่อยนั้นเป็นหนังสือค้ำประกันและถอนประกันภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 20) ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2534 จึงทำให้บริษัทไม่ต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มของวัตถุดิบรายการนั้น
          แต่หากเป็นวัสดุจำเป็น จะได้รับยกเว้นเฉพาะอากรขาเข้า แต่จะต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มตามปกติ

  2. การสั่งปล่อยถอนการใช้ธนาคารค้ำประกัน
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริม ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นที่เคยใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากรไว้ พร้อมกับถอนการใช้ธนาคารค้ำประกัน และใช้หนังสืออนุมัตินั้นเป็นหนังสือค้ำประกันและถอนประกันภาษีมูลค่าเพิ่มของวัตถุดิบ จึงทำให้บริษัทไม่ต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่มของวัตถุดิบรายการนั้น

  3. การสั่งปล่อยคืนอากร
          คือ การอนุมัติให้ผู้ได้รับการส่งเสริมได้รับคืนอากรขาเข้าของวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นที่ได้ชำระไปก่อนหน้านั้นแล้ว แต่ทั้งนี้ จะไม่ได้รับคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากเข้าสู่ระบบภาษีซื้อภาษีขายไปแล้ว


การเตรียมข้อมูลเพื่อสั่งปล่อยวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น

  1. จัดทำร่างใบขนสินค้าขาเข้า โดยจัดเรียงลำดับที่ของวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นจาก Invoice ให้ตรงตามลำดับที่ในใบขนสินค้าขาเข้า ดังนี้

    Invoice No.100
    ลำดับที่ 1AA10 PC
    2BB20 PC
    Invoice No.200
    ลำดับที่ 1AA10 PC
    2CC10 PC

    ใบขนขาเข้าเลขที่ A001
    ลำดับที่ 1AA10 C62
    2BB20 C62
    3AA10 C62
    4CC10 C62

  2. กรณีมีการแยกใช้สิทธิ์ระหว่างสิทธิ์อื่นกับสิทธิ์ BOI ให้แยกลำดับที่ในใบขนขาเข้า ดังนี้

    Invoice No.300
    ลำดับที่ 1AA100 PC

    ใบขนขาเข้าเลขที่ A002
    ลำดับที่ 1AA80 C62
    ใช้สิทธิ์ 19 ทวิ
    2AA20 C62
    ใช้สิทธิ์ BOI


เอกสารและวิธีการสั่งปล่อยในกรณีต่างๆ

นำเข้าจากเอกสารการลงบัญชีสั่งปล่อย
ต่างประเทศใบขนสินค้าขาเข้าลงบัญชีในระบบ RMTS
เขตปลอดอากรใบขนสินค้าขาเข้าลงบัญชีในระบบ RMTS
คลังสินค้าทัณฑ์บนใบขนสินค้าขาเข้าโอนย้ายลงบัญชีในระบบ RMTS
บริษัทที่ใช้สิทธิ์มาตรา 36(1)ไม่ต้องสั่งปล่อยไม่ต้องลงบัญชีในสต๊อค
มาตรา 19 ทวิไม่ต้องสั่งปล่อยไม่ต้องลงบัญชีในสต๊อค


การสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน และสั่งปล่อยคืนอากร

  1. การสั่งปล่อยถอนค้ำประกัน
    • จะต้องได้รับอนุมัติบัญชีสต๊อควัตถุดิบแล้ว
    • จะต้องสั่งปล่อยถอนค้ำประกันภายในระยเวลาที่ได้รับอนุมัติให้ค้ำประกัน

  2. การสั่งปล่อยคืนอากร
    • จะต้องได้รับอนุมัติบัญชีสต๊อควัตถุดิบแล้ว
    • จะต้องขอคืนอากรภายใน 2 ปีนับจากวันนำเข้า
    • จะได้รับคืนเฉพาะอากรขาเข้าเท่านั้น
    • กรณีที่สิ้นสุดระยะเวลานำเข้าแล้ว จะต้องขอคืนอากรภายใน 1 ปีนับจากวันที่สิ้นสุดสิทธิ์

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 19,468
Total pageviews 4,415,095 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.