ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
   - ภาพรวมการให้การส่งเสริม
 - พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
 - นโยบายส่งเสริมการลงทุน
 - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
 - กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
   - ภาพรวม
 - หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
 - การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
 - การรวมบัตรส่งเสริม
 - การโอน / รับโอนกิจการ
 - การควบรวมกิจการ
 - การโยกย้ายสถานประกอบการ
 - การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
   - มาตรการ STI
 - มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
   - กิจการ IPO
 - กิจการ ROH
 - กิจการ TISO
 - กิจการซอฟต์แวร์
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีเครื่องจักร (Master List)
 - การใช้เครื่องจักรเก่า
 - การสั่งปล่อยเครื่องจักร
 - การใช้ธนาคารค้ำประกัน
 - การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
 - การตัดบัญชีเครื่องจักร
 - การขออนุญาตอื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 30
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 36
 - ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
 - บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
 - สูตรการผลิต
 - ส่วนสูญเสียและเศษซาก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
 - การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
 - การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
 - การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
 - วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
 - ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
 - รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
 - วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
 - การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
 - ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
   - ภาพรวม
 - สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
 - ระบบ e-Expert
 - การอนุมัติตำแหน่ง
 - การบรรจุช่างฝีมือ
 - การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
 - การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
 - ข้อควรรู้
 - กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 - อื่น ๆ
   - ภาพรวม
 - สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
 - ขั้นตอนการใช้สิทธิ
   - ภาพรวม
 - กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
 - การเปิดดำเนินการ
   - ภาพรวม
 - แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
 - แก้ไขกำลังผลิต
 - แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
 - แก้ไขสภาพเครื่องจักร
 - แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
 - แก้ไขทุนจดทะเบียน
   - ภาพรวม
 - การตอบรับมติ
 - การออกบัตรส่งเสริม
   - การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
 - การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
 - รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
 - การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
 - การยกเลิกบัตรส่งเสริม

 ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
   - การสมัครสมาชิก
 - การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
 - การฝึกอบรม
   - ภาพรวม
   - บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
 - บัญชีชื่อรอง (DESC)
 - บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
 - การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
 - การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - การตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - การปรับยอดวัตถุดิบ
   - งานเครื่องจักร
 - งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
 - งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
 - งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
 - งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
 - ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
 - งานบัญชีและการเงิน

 Webboard
   - เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
 - เครื่องจักร
 - วัตถุดิบ
 - ช่างฝีมือ
 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 - การเปิดดำเนินการ
 - ลงทะเบียนเว็บบอร์ด










 
 RMTS : บัญชีวัตถุดิบชื่อรอง (DESC)

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ

      ชื่อรอง คือชื่อวัตถุดิบซึ่งเป็นชื่อที่ตรงกับใบกำกับสินค้า ซึ่งหากผู้ได้รับส่งเสริมนำวัตถุดิบที่ตรงกับชื่อรองเข้ามา ก็จะอนุมัติให้สั่งปล่อยได้ แต่หากไม่ตรง จะต้องขอแก้ไขบัญชีเพื่อเพิ่มชื่อรองก่อน จึงจะสั่งปล่อยวัตถุดิบรายการนั้นๆ ได้

      เมื่อผู้ได้รับส่งเสริมได้รับอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบ (ชื่อรอง) จาก BOI จะต้องนำข้อมูลที่ได้รับอนุมัติดังกล่าว มาบันทึกในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (CD, USB Flash Drive ฯลฯ) ตามรูปแบบไฟล์ excel ที่กำหนด โดยใช้ชื่อไฟล์ว่า birtdesc.xml

      จากนั้น ผู้ได้รับส่งเสริมจะต้องนำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวไปยื่นต่อสมาคมสโมสรนักลงทุน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และบันทึกลงในระบบ RMTS เพื่อนำไปใช้ในการสั่งปล่อยวัตถุดิบต่อไป


ตัวอย่างการบันทึกบัญชีข้อมูลวัตถุดิบ (ชื่อรอง)

Proj_codeGrp_noGrp_descTariffApp_noApp_dateType
12345611000001LABEL ASSY3920.20.900908/00425317/04/2013A
12345611000001STICKER3920.20.900908/00425317/04/2013A
12345611000001BARCODE
0908/00425317/04/2013A
12345611000002IND3824.90.990908/00425317/04/2013A
12345611000006CAP4806.40.000908/00425317/04/2013A
12345611000008PCB
0908/00425317/04/2013A


ความหมายและข้อกำหนดของแต่ละฟีลด์

No.ชื่อฟีลด์ประเภทข้อมูลความยาวคำอธิบายและเงื่อนไข
1Proj_codeตัวอักษร8รหัสโครงการ (Project Code)
ไม่เป็นค่าว่าง และทุกบรรทัดต้องมีค่าเหมือนกัน
2Grp_noตัวอักษร6หมายเลขกลุ่มของวัตถุดิบ (Group Number)
ไม่เป็นค่าว่าง และไม่ซ้ำกัน
3Grp_descตัวอักษร512 ชื่อวัตถุดิบ (ชื่อรอง)
ใช้สำหรับสั่งปล่อยวัตถุดิบ
ไม่เป็นค่าว่าง และไม่ซ้ำกัน เว้นแต่พิกัดศุลกากรต่างกัน
คีย์ได้บรรทัดละ 1 ชื่อ
ไม่สามารถแก้ไข โดยใช้ Type C ได้
การแก้ไข ต้องลบรายการเดิม และเพิ่มชื่อใหม่แทน
4Tariffตัวอักษร10รหัสพิกัดศุลกากร
เป็นค่าว่างได้
5App_noตัวอักษร11เลขที่หนังสือที่ได้รับอนุมัติจาก BOI
ไม่เป็นค่าว่าง
6App_dateตัวอักษร10วันที่ที่ได้รับอนุมัติจาก BOI
ไม่เป็นค่าว่าง
หากเป็นหนังสืออนุมัติเดียวกัน ต้องคีย์วันที่เหมือนกัน
7Typeตัวอักษร1ประเภทของการยื่นข้อมูล ซึ่งกำหนดรหัส ดังนี้
Aคือ การยื่นข้อมูลครั้งแรก หรือเพิ่มรายการใหม่
Cคือ การแก้ไขข้อมูลที่บันทึกอยู่เดิม
Dคือ การยกเลิกข้อมูลที่บันทึกอยู่เดิม


ข้อควรระวังในการบันทึกชื่อรอง

  1. ระบบ RMTS จะนำชื่อวัตถุดิบ (ชื่อหลัก) มาตั้งเป็นชื่อรองเริ่มต้นให้โดยอัตโนมัติ จึงไม่ต้องบันทึกชื่อนั้นอีก
  2. กรณีที่ยังไม่ทราบพิกัดศุลกากรของชื่อรอง จะยังไม่ต้องคีย์พิกัดก็ได้
  3. สามารถแก้ไขพิกัดศุลกากรได้ในภายหลัง โดยไม่ต้องขออนุญาตจาก BOI
  4. ชื่อรองที่มีพิกัดอยู่แล้วและต้องการเปลี่ยนแปลงใส่พิกัดใหม่ ให้ป้อนข้อมูลเดิม แล้วใส่ Type D และชื่อรองเดิมที่มีการเปลี่ยนพิกัดให้ป้อนชื่อรองเดิม และใส่พิกัดใหม่ ใส่ TYPE A

หน้าแรก | เว็บบอร์ด | อ่านกระทู้ถามตอบ


views 14,357
Total pageviews 4,488,952 since Jan 2014

FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์ | เฟสบุ๊ค | เว็บบอร์ด | ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.