ความรู้เกี่ยวกับงาน BOI
>
การส่งเสริมการลงทุน
-
ภาพรวมการให้การส่งเสริม
-
พรบ.ส่งเสริมการลงทุน
-
นโยบายส่งเสริมการลงทุน
-
หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์
-
กิจการที่ให้ส่งเสริมการลงทุน
>
การขอรับส่งเสริม
-
ภาพรวม
-
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ
-
การกรอกคำขอรับการส่งเสริม
-
การรวมบัตรส่งเสริม
-
การโอน / รับโอนกิจการ
-
การควบรวมกิจการ
-
การโยกย้ายสถานประกอบการ
-
การส่งเสริมกิจการที่ประกอบการอยู่เดิม
>
นโยบายและมาตรการพิเศษ
-
มาตรการ STI
-
มาตรการสนับสนุนกิจการ SMEs
>
กิจการที่มีเงื่อนไขพิเศษ
-
กิจการ IPO
-
กิจการ ROH
-
กิจการ TISO
-
กิจการซอฟต์แวร์
>
เครื่องจักร
-
ภาพรวม
-
สิทธิประโยชน์มาตรา 28 และ 29
-
ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
-
บัญชีเครื่องจักร (Master List)
-
การใช้เครื่องจักรเก่า
-
การสั่งปล่อยเครื่องจักร
-
การใช้ธนาคารค้ำประกัน
-
การส่งออกไปซ่อม หรือส่งคืน
-
การตัดบัญชีเครื่องจักร
-
การขออนุญาตอื่น ๆ
>
วัตถุดิบ มาตรา 30
-
ภาพรวม
-
สิทธิประโยชน์มาตรา 30
-
ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
-
บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
-
สูตรการผลิต
-
การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
-
การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
-
การตัดบัญชีวัตถุดิบ
>
วัตถุดิบ มาตรา 36
-
ภาพรวม
-
สิทธิประโยชน์มาตรา 36
-
ระยะเวลานำเข้าและการขยายเวลา
-
บัญชีวัตถุดิบและปริมาณสต๊อคสูงสุด
-
สูตรการผลิต
-
ส่วนสูญเสียและเศษซาก
-
การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
-
การใช้ธนาคารค้ำประกันภาษีอากร
-
การตัดบัญชีวัตถุดิบ
-
การส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ
-
การชำระภาษีอากรวัตถุดิบ
-
การนำผลิตภัณฑ์กลับเข้ามาซ่อม
-
การโอน-รับโอนวัตถุดิบ
>
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
-
ภาพรวม
-
สิทธิประโยชน์มาตรา 31, 34, 35
-
วันที่เริ่มมีรายได้ครั้งแรก
-
ระยะเวลาการยกเว้นภาษี
-
รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี
-
วงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
-
การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ
-
ขั้นตอนการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษี
>
ช่างฝีมือ
-
ภาพรวม
-
สิทธประโยชน์มาตรา 24, 25, 26
-
ระบบ e-Expert
-
การอนุมัติตำแหน่ง
-
การบรรจุช่างฝีมือ
-
การขอใบอนุญาตทำงานและต่อวีซ่า
-
การนำช่างฝีมือมาปฏิบัติงานขั่วคราว
-
ข้อควรรู้
-
กฏหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
-
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-
อื่น ๆ
>
ที่ดิน
-
ภาพรวม
-
สิทธิประโยชน์ มาตรา 27
-
ขั้นตอนการใช้สิทธิ
>
การเปิดดำเนินการ
-
ภาพรวม
-
กำหนดระยะเวลาการเปิดดำเนินการ
-
การเปิดดำเนินการ
>
การแก้ไขโครงการ
-
ภาพรวม
-
แก้ไขชนิดผลิตภัณฑ์
-
แก้ไขกำลังผลิต
-
แก้ไขกรรมวิธีการผลิต
-
แก้ไขสภาพเครื่องจักร
-
แก้ไขที่ตั้งโรงงาน
-
แก้ไขทุนจดทะเบียน
>
บัตรส่งเสริม
-
ภาพรวม
-
การตอบรับมติ
-
การออกบัตรส่งเสริม
>
การดำเนินการอื่นๆ
-
การยืนยันการดำเนินการตามโครงการ
-
การปฏิบัติตามเงื่อนไข ISO
-
รายงานผลการดำเนินงาน (ตส.310)
-
การหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว
-
การยกเลิกบัตรส่งเสริม
ความรู้เกี่ยวกับงาน IC
>
การสมัครสมาชิกและฝึกอบรม
-
การสมัครสมาชิก
-
การสมัครใช้บริการสิทธิประโยชน์
-
การฝึกอบรม
>
new RMTS Online
-
ภาพรวม
>
ระบบ RMTS
-
บัญชีวัตถุดิบและสต๊อคสูงสุด (MML)
-
บัญชีชื่อรอง (DESC)
-
บัญชีสูตรการผลิต (FRM)
-
การกำหนดวันนำเข้าครั้งแรก
-
การสั่งปล่อยวัตถุดิบ
-
การตัดบัญชีวัตถุดิบ
-
การปรับยอดวัตถุดิบ
>
คำถามคำตอบ IC Customer Support
-
งานเครื่องจักร
-
งานสั่งปล่อยวัตถุดิบ
-
งานตัดบัญชีวัตถุดิบ
-
งานฐานข้อมูลวัตถุดิบ
-
งานบริการฝึกอบรมและสัมมนา
-
ลงทะเบียนระบบฝึกอบรมออนไลน์
-
งานบัญชีและการเงิน
Webboard
>
FAQ 108 คำถามเพื่อการลงทุน
-
เว็บบอร์ดถามตอบคำถาม
-
เครื่องจักร
-
วัตถุดิบ
-
ช่างฝีมือ
-
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
-
การเปิดดำเนินการ
-
ลงทะเบียนเว็บบอร์ด
การบันทึกกรรมวิธีการผลิต : RMTS online version ปรับปรุงใหม่
ภาพรวม/ความคืบหน้า
หน้าแรก
|
เว็บบอร์ด
|
อ่านกระทู้ถามตอบ
ข้อมูลไม่เป็นทางการ
update : 1 ธันวาคม 2565
การบันทึกกรรมวิธีการผลิต
ภาพรวม
บันทึกกรรมวิธีการผลิต และผูกความสัมพันธ์ของวัตถุดิบแต่ละรายการ กับกรรมวิธีการผลิตและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับส่งเสริม
ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบนั้นๆ ให้สอดคล้องกับกรรมวิธีการผลิตที่ได้รับส่งเสริม
กรณีมีการแก้ไขโครงการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญที่กระทบกับรายการวัตถุดิบ หรือปริมาณสต็อกสูงสุดของวัตถุดิบ เช่น การเพิ่ม/ลดกำลังผลิต การเพิ่ม/ยกเลิกผลิตภัณฑ์ ระบบจะสามารถช่วยตรวจสอบรายการวัตถุดิบ และ/หรือปริมาณสต็อกสูงสุด ที่พึงเปลี่ยนแปลงได้
ในอนาคตคาดว่าจะพัฒนาให้บันทึกกรรมวิธีการผลิตเป็นฐานข้อมูลเดียวกับระบบ eMT และระบบงานของ BOI (การขอรับการส่งเสริม / การขอแก้ไขกรรมวิธีการผลิต) เพื่อลดภาระของบริษัทในการบันทึกข้อมูลเดียวกันในหลายระบบ
สำคัญ!
โครงการเดิมที่ได้รับอนุมัติบัญชีสต็อกวัตถุดิบอยู่แล้ว ยังคงสามารถสั่งปล่อยและตัดบัญชีได้
แต่หากจะแก้ไขบัญชีสต็อก ไม่ว่าจะแก้ไขรายการวัตถุดิบ หรือแก้ไขปริมาณสต็อก จะต้องบันทึกกรรมวิธีการผลิต และผูกความสัมพันธ์ของวัตถุดิบในบัญชีเดิมให้เสร็จสิ้นก่อน จึงจะสามารถขอแก้ไขบัญชีสต็อกได้
กิจการ IPO/ITC เป็นกิจการซื้อมาขายไป (ทั้งในกรณี 1:1 และกรณีจัดชุด) ซึ่งไม่ได้มีการกำหนดกรรมวิธีการผลิตไว้ในการอนุมัติให้การส่งเสริม จึงไม่ต้องบันทึกกรรมวิธีการผลิต
แต่หากเป็นกิจการ IPO/ITC ที่เป็นการนำวัตถุดิบไปว่าจ้างผลิต จะต้องได้รับอนุมัติให้มีการว่าจ้างผลิต จึงต้องบันทึกกรรมวิธีการผลิตตามที่ได้รับอนุมัตินั้นด้วย
ตัวอย่าง
กรรมวิธีผลิตที่ได้รับส่งเสริม
ผลิตภัณฑ์ตามบัตรส่งเสริม
สินค้า A
สินค้า B
กรรมวิธี 1
O
กรรมวิธี 2
O
กรรมวิธี 3
O
O
Group no
วัตถุดิบ
(ชื่อหลัก)
สินค้า A
สินค้า B
กรรมวิธี 1
กรรมวิธี 3
กรรมวิธี 2
กรรมวิธี 3
000001
XX
O
000002
YY
O
000003
ZZ
O
O
ภาพรวม/ความคืบหน้า
หน้าแรก
|
เว็บบอร์ด
|
อ่านกระทู้ถามตอบ
views
1,727
Total pageviews
4,489,372
since Jan 2014
FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน
เว็บไซต์
|
เฟสบุ๊ค
|
เว็บบอร์ด
|
ติดต่อเรา
Copyright © FAQ 108 COMPANY LIMITED. All rights reserved.